ภาษาจีน
ภาษาจีนปัจจุบันในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ใช้ระบบHanyu
Pinyin Fang’an 汉语拼音方案 ( สัทอักษรภาษาจีน )
หรือที่เรียกกันว่า “ ระบบ Pinyin ” ซึ่งเป็นระบบที่ใช้อักษรโรมันในการออกเสียงตัวอักษร
โดยดัดแปลงมาจาก International Alphabets ซึ่ง Hanyu
Pinyin นั้น เปรียบเสมือนเป็นเครื่องมือที่สำคัญที่ต้องใช้ในการเรียนภาษาจีน
汉语拼音
1. 声母 : พยัญชนะ
สัทอักษรแทนเสียงพยัญชนะมีทั้งหมด 23
เสียง
b (ป) p (พ) m
(ม) f (ฟ)
d (เตอ) t
(เทอ) n (เนอ) l (เลอ)
g (เกอ) k
(เคอ) h (เฮอ) j
(จี)
q (ชี) x (ซี) z (จือ) c (ชือ)
s (ซือ) zh
(จรือ) ch (ชรือ) sh(ซรือ)
r (ยรือ) y (ยี) w (อู )
พยัญชนะกึ่งสระของระบบเสียงภาษาจีนมี 2 เสียง คือ
y
w
2. 韵母 : สระ
- สระเดี่ยว ในภาษาจีนมี 6 เสียง
สัทอักษรที่แทนเสียง สระเดี่ยวมีดังนี้
a (อา) o
(โอ) e (เออ) I (อี) u (อู) u (อวี)
- สระผสม
สระผสมสองเสียงในภาษาจีนมี 9 เสียง
ai (ไอ) ei (เอย) ao (อาว)
ou (โอว) ia (อี + อา) ie (อี
+ เอะ)
ua (อวา) uo (อัว) ue (เอว์)
-
สระผสมสามเสียงในภาษาจีนมี 4 เสียง
iao (เอียว
/อี+อา+โอ ) iu ( iou )
( อิว /อี+โอ+อู )
uai ( ไอว
/อู+อา+ไอ ) ui ( uei )
( อุย /อู+เอ+อี )
- สระผสมนาสิก
สระผสมนาสิกในภาษาจีนมี 16 เสียง
ดังนี้
an ( อัน ) ang ( อาง ) ong ( อง )
en ( เอิน ) eng ( เอิง ) ian
( เอียน )
in ( อิน ) iang ( เอียง ) ing ( อิง )
iong ( อี +
อง ) uan ( อวน ) un
( อุน )
uang (อู+ อาง
) ueng
(อู+ เอิง )
uan ( อวาน ) un
( อวุน )
3. 声调 : วรรณยุกต์
เสียงวรรณยุกต์ในภาษาจีนมี 4 เสียง ดังนี้
เสียง 1 :
- (ตี้ อี เซิง) เทียบเสียง “ สามัญ ” ของวรรณยุกต์ไทย
เสียง 2 :
/ (ตี้ เอ้อร์ เซิง) เทียบเสียง “ จัตวา ” ของวรรณยุกต์ไทย
เสียง 3 :
v (ตี้ ซาน เซิง) เทียบเสียง “ เอก ” ของวรรณยุกต์ไทย
เสียง 4 :
\ (ตี้ ซื่อ เซิง) เทียบเสียง “ โท ” ของวรรณยุกต์ไทย
โครงงานเทคโนโลยี โรงเรียนสตรีภูเก็ต ม.5/9
โครงงานเทคโนโลยี โรงเรียนสตรีภูเก็ต ม.5/9
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น